เป้าหมาย (Understanding Goal):

เป้าหมาย (Understanding Goal) :

  1. เพื่อศึกษาความหลากหลายของการกำเนิด และกระบวนการในการปรับตัวของสิ่งต่างๆ รอบตัว คาดการณ์และเห็นแนวโน้มของสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างมีเหตุผล
  2. เข้าใจและเห็นคุณค่าความสัมพันธ์ความหลายหลายของสิ่งต่างๆ  และตัวเอง เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีเป้าหมายและมีคุณค่า

Main



Mind Mapping หน่วย : แกะรอยแผนการของพระเจ้า






ปฏิทินการเรียนรู้บูรณาการ (Problem Based LearningPBL หน่วย: “เเกะรอยแผนการของพระเจ้า”
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ (Quarter 2) ปีการศึกษา 2559
week
Input
Process
Output
Outcome
12
โจทย์ :แนวโน้มโลกในอนาคต
- คาดการณ์แนวโน้มโลกในอนาคต
Key Questions:
- อีก  500 ข้างหน้าโลกจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?
-โลกกับพระเจ้าสัมพันธ์กันอย่างไร
-พระเจ้าในอนาคตจะเป็นอย่างไร
เครื่องมือคิด
-Round Robin ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดกัน
-Show and Share:ถ่ายทอดเรื่องที่ได้อ่านจากบทความ
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share 
-
 Wall Thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
-ครู
-นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-ห้องสมุด
-internet
-บรรยากาศในห้องเรียน
-คลิปคำทำนายของคนตาบอด
-บทความของหญิงตาบอด
-บทความแนวโน้มของโลก
-ชีวิตท่ากลางสมมติ


-ครูให้นักเรียนดูคลิป คำทำนายของหญิงตาบอด
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด
-นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากเรื่องที่ดู
-นักเรียนประมวลความรู้และตั้งคำถาม
-ครูนักเรียนร่วมแลกเปลี่ยนความคิด
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด อีก  “500 ปีข้างหน้าโลกจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?”
นักเรียนแบ่งกลุ่มอ่านบทความ  ชีวิตท่ากลางสิ่งสมมติ
- นักเรียนเลือก 1 ประเด็กที่สนใจ เพื่อคาดการณ์แนวโน้มความเป็นไปได้
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์ (เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและคาดการณ์แนวโน้มโลกในอนาคต)
นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
นักเรียนนำเสนอในรูปแบบที่ตนเองสนใจและหลากหลาย
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน :
-วิเคราะห์หนังที่ดู
- แบ่งกลุ่มอ่านบทความ คำทำนายของหญิงตาบอด  /ชีวิตท่ากลางสิ่งสมมติประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- การเลือก 1 ประเด็กที่สนใจ เพื่อคาดการณ์แนวโน้มความเป็นไปได้
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ)
-ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน :
- เขียนคาดการณ์แนวโน้มในอนาคต
- สมุดบันทึก
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
- กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการแปรผันของสิ่งต่างๆ รอบตัวผ่านการมองเหตุการณ์ในปัจจุบัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและคาดการณ์แนวโน้มโลกในอนาคต)พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ:

รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย

week
Input
Process
Output
Outcome
13
โจทย์:วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต/ การเปลี่ยนแปลง
- คน
- พืช
- สัตว์
Key Questions:
-พืชและสัตว์มีวิวัฒนาการเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
- นักเรียนคิดว่าพระเจ้ามีส่วนที่ทำให้มนุษย์พืชและสัตว์เกิดความเปลี่ยนแปลงด้านวิวัฒนาการหรือไม่เพราะเหตุใด
-ทำไมเรากับพืชถึงมียีนใกล้เคียงกัน
-แนวโน้มในอนาคตสิ่งมีชีวิต ( คน พืช สัตว์ )จะเป็นอย่างไร
 เครื่องมือคิด
Round Robin ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดกัน
Show and Share:ถ่ายทอดความเข้าใจเรื่องการก่อกำเนิดสิ่งมีชีวิต
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share 
-
 Wall Thinking 
ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
-นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยายกาศในชั้นเรียน
-หนังสือเรียน
-ห้องสมุด


ครูให้นักเรียนดูคลิปเรื่องการกำเนิดโลกและสิ่งมีชีวิตทั่งมวล
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิดนักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากเรื่องทีดู
-นักเรียนประมวลความรู้และตั้งคำถาม
-ครูให้นักเรียนจับฉลากเพื่อไปสืบค้นข้อมูลวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ( คน พืช สัตว์ )
-นักเรียนนำเสนอในรูปแบบของตนเอง ( เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต( พืช สัตว์ มนุษย์)
-ครูนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิดพืช สัตว์ และมนุษย์ มีวิวัฒนาการเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิดพระเจ้ามีส่วนทำให้มนุษย์พืชและสัตว์เกิดความเปลี่ยนแปลงด้านวิวัฒนาการหรือไม่เพราะเหตุ
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิดทำไมมนุษย์กับพืชถึงมียีนใกล้เคียงกัน
-ครูให้นักเรียนจับฉลากเพื่อไปสืบค้นข้อมูล เรื่อง 1.พืช สัตว์ และมนุษย์ มีวิวัฒนาการเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
2.พระเจ้ามีส่วนทำให้มนุษย์พืชและสัตว์เกิดความเปลี่ยนแปลงด้านวิวัฒนาการหรือไม่เพราะเหตุ
3.ทำไมมนุษย์กับพืชถึงมียีนใกล้เคียงกัน
-นักเรียนนำเสนอในรูปแบบของตนเอง ( เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต( พืช สัตว์ มนุษย์)
-ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด จากอดีต ปัจจุบัน และอนาคตสิ่งมีชีวิต( พืช สัตว์ มนุษย์ ) มีช่วงการเปลี่ยนแปลงและสัมพันธ์กันอย่างไร?”
-นักเรียนประมวลความรู้ความเข้าใจรูปแบบชาร์ตภาพ
( เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการการเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิต ( คน พืช สัตว์ ) และสามารถคาดการณ์แนวโน้มในอนาคตได้)
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
-วิเคราะห์งาน
-สืบค้นข้อมูล
-ถ่ายทอดความเข้าใจเรื่องวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
-สรุปความเข้าใจรายสัปดาห์
ชิ้นงาน
-สมุดบันทึก
-หนังสั้น วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
-ชาร์ตภาพ
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและคาดการณ์แนวโน้มโลกในอนาคต)พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ:

รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย

week
Input
Process
Output
Outcome
14
โจทย์: กลไกชีวิต
-การถ่ายทอดทางพันธุกรรม( คน พืช สัตว์)
-ยีน
-โคโมโซม
-โรค
Key Questions:
-10 อย่างที่ปรากฏและไม่ปรากฏให้เห็นในยีนเด่น ยีนด้อย
-ยีนที่ถ่ายทอดได้ กับยีนที่ถ่ายทอดไม่ได้แตกต่างกันอย่าง
-พระเจ้าเป็นผู้สร้างทำให้เกิดยีนเด่น ยีนด้อยหรือไม่
เครื่องมือคิด
Round Robin ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดกัน
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share 
-
 Wall Thinking 
ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
-นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-ภาพประกอบ
-บรรยายกาศห้องเรียน
-หนังสือ

-ครูให้นักเรียนดูภาพ


-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิดนักเรียนเห็นอะไรจากรูปนี้”?
-นักเรียนประมวลความรู้และตั้งคำถาม
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิดนักเรียนคิดอย่างไรกับการเหยียดสีผิว
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิดอะไรที่บ่งบอกว่าเป็นฉัน”?
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิดความแตกต่างของ ยีนกับโคโมโซม คืออะไร”?
-นักเรียนประมวลความรู้และตั้งคำถาม
-ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 3 เพื่อไปสืบค้นการกลไกชีวิต ขอองพืช สัตว์ มนุษย์
นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบโจทย์ (เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับกลไกชีวิตของสิ่งมีชีวิต ( พืช สัตว์ มนุษย์) และคาดการณ์แนวโน้มโลกในอนาคต)
-นักเรียนนำเสนอในรูปมุมมองของตนเอง
-ครูนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิดกลไกชีวิต ของสิ่งมีชีวิต ( พืช สัตว์ มนุษย์ ) อดีต ปัจจุบันและอนาคต มีช่วงการเปลี่ยนแปลงและสัมพันธ์กันอย่างไร?”
-นักเรียนประมวลความรู้ความเข้าใจรูปแบบการ์ตูนช่อง
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างในสัปดาห์นี้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ภาระงาน
-วิเคราะห์ภาพ
-แสดงความคิดเห็น
 -การแลกเปลี่ยนอภิปรายร่วมกัน
-วิเคราะห์ข้อมูล
-สืบค้นข้อมูล
ชิ้นงาน
-สมุดบันทึก
-สรุปตามความเข้าใจ
( mind mapping เขียนบรรยาย นิทาน การ์ตูนช่อง แผ่นชาร์ต หรืออื่นๆ)
-สรุปสัปดาห์
ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและคาดการณ์แนวโน้มโลกในอนาคต)พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ:

รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย

week
Input
Process
Output
Outcome
15-16
โจทย์:วิวัฒนาการสู่สังคมโลก
-ยุคก่อนประวัติศาสตร์
-ยุคหิน
-ยุดโลหะ
-สมัยประวัติศาสตร์
-การแบ่งช่วงเวลา
-การเมืองการปกครอง
Key Questions:
- จะเป็นอย่างไรถ้าไม่มีประวัติศาสตร์
- นักเรียนจะมีวิธีดูแลรักษาแผ่นดินให้คงอยู่ยาวนานได้อย่างไรบ้าง
-
เครื่องมือคิด
Round Robin ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดกัน
Show and Share:ถ่ายทอดความเข้าใจ
ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
-นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยายกาศในชั้นเรียน
-หนังสือเรียน
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด จะเกิดอะไรขึ้นถ้าประเทศไทยไม่มีประวัติศาสตร์
-ครูให้นักเรียนดูคลิปเรื่องยุคก่อนประวัติศาสตร์ ( ศิลปะยุคประวัติศาสตร์  สงครามจักรวาลโบราณ  )
-นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากสิ่งที่ได้ดู
-นักเรียนประมวลองค์ความรู้และตั้งคำถาม
-ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน เพื่อสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มที่ 1 ยุคหิน
กลุ่มที่ 2 ยุคโลหะ
กลุ่มที่ 3 สมัยก่อนประวัติศาสตร์
กลุ่มที่ 4 การแบ่งช่วงเวลา
-นักเรียนนำเสนอผลงานในรูปแบบที่ตนเองสนใจ ( เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ยุคหิน ยุคโลหะ สมัยประวัติศาสตร์ การแบ่งช่วงเวลา การเมืองการปกครอง)
-นักเรียนครูแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิดยุคก่อนประวัติศาสตร์ มีช่วงการเปลี่ยนแปลงและสัมพันธ์กันอย่างไร?”
-นักเรียนประมวลความรู้ความเข้าใจรูปแบบชาร์ตภาพ
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างในสัปดาห์นี้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ภาระงาน
-วิเคราะห์งาน
-การแลกเปลี่ยนอภิปรายร่วมกัน
-การแบ่งกลุ่มสืบค้น
ชิ้นงาน
-สมุดบันทึก
-( mind mapping เขียนบรรยาย นิทาน การ์ตูนช่อง แผ่นชาร์ต หรืออื่นๆ)
-ชาร์ตภาพ
-สรุปรายสัปดาห์

ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและคาดการณ์แนวโน้มโลกในอนาคต)พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ:

รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย

week
Input
Process
Output
Outcome
17-18
โจทย์:การพัฒนาเข้าสู่สังคมโลก
-ความเชื่อ
-ศาสนา
-วัฒนธรรม ประเพณี
 อารยธรรม
-การเปลี่ยนแปลง
-แนวโน้มของโลกในอนาคต
Key Questions:
-นักเรียนเชื่อเกี่ยวกับเรื่องสวรรค์ นรกหรือไม่เพราะเหตุใด
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือสิ่งแรกที่นักเรียนคิดถึงคืออาหารอะไร
-พระเจ้าเป็นผู้สร้างศาสนา
-ทำไมนักเรียนต้องมีศาสนา
-คำบอกเล่าของคนโบราณเหมือนหรือแตกต่างจากความเชื่อ
เครื่องมือคิด
Round Robin ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดกัน
Show and Share:ถ่ายทอดความเข้าใจ
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share 
-
 Wall Thinking 
ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
-นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยายกาศในชั้นเรียน
-หนังสือเรียน
-ครูให้นักเรียนเล่นเกมเขียนตามคำบอก
-ครูเปิดคลิปการแสดงของ ภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคเหนือ ภาคใต้ ให้นักเรียนดู
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิดนักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากคลิปที่ดู
-นักเรียนประมวลความรู้และตั้งคำถาม
-ครูให้นักเรียนจับฉลากเพื่อไปสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ การแต่งกาย วัฒนธรรม ประเพณี อาหาร ศาสนาและความเชื่อของแต่ละภาค ( ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ ภาคอีสาน)
-นักเรียนออกแบบโจทย์การเรียนรู้ตามรูปแบบของตนเอง(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการ ความเชื่อ ศาสนา วัฒนธรรมขบธรรมเนียน ประเพณี การเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มของโลกอนาคต)
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด นักเรียนเชื่อเกี่ยวกับเรื่องสวรรค์ นรกหรือไม่เพราะเหตุใด?
-ครูให้นักเรียนประมวลความรู้และตั้งคำถาม
-ครูกันเรียนอภิปรายร่วมกัน
-ครูเปิดคลิปเรื่องประเพณีเลี้ยงผีปู่แสะ ย่าแสะ ครูใช้คำถามกระตุ้นคิดคำบอกเล่าของคนโบราณเหมือนหรือแตกต่างจากความเชื่อเพราะเหตุใด
-นักเรียนประมวลความรู้ความเข้าใจ
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิดถ้าพูดถึงศาสนานักเรียนคิดถึงอะไร?
-ครูนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิดความเชื่อ ศาสนา วัฒนธรรมขบธรรมเนียนและประเพณีใน อดีต ปัจจุบันและอนาคต มีช่วงการเปลี่ยนแปลงและสัมพันธ์กันอย่างไร?”
-นักเรียนประมวลความรู้ความเข้าใจรูปแบบการ์ตูนช่อง
-ครูให้นักเรียนอ่านบทความแนวโน้มโลก
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์ (เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเข้าสู่สังคมโลกและคาดการณ์แนวโน้มโลกในอนาคต)
นักเรียนนำเสนอในรูปแบบมิติที่หลากหลาย
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างในสัปดาห์นี้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
-วิเคราะห์ข้อมูล
-ดูคลิป
-แบ่งกลุ่มสืบค้นข้อมูล
ชิ้นงาน
-การนำเสนอผลงานในรูปแบบของตนเอง( การ์ตูนช่อง แผ่นชาร์ต หนังสั้น ฯลฯ)
-การ์ตูนช่อง
-สมุดบันทึก
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและคาดการณ์แนวโน้มโลกในอนาคต)พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ:

รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย

week
Input
Process
Output
Outcome
19










































































20
โจทย์  Review กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้
คำถาม
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
จากรูปแบบกระบวนการเรียน 2 หน่วยที่ผ่านมา นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด

เครื่องมือคิด
AAR กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้
ร่วมกัน ตลอด 1 Quarter ที่ผ่านมา
นักเรียนแบ่งกลุ่ม สรุปประเด็นจาก AARและนำเสนอความเข้าใจ จาก 2 ประเด็น
       **  การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
     ** จากรูปแบบกระบวนการเรียน 2 หน่วยที่ผ่านมา นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด
Show and share นำเสนอความ
คิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้
ประเด็น AAR
**  การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
     **จากรูปแบบกระบวนการเรียน 2หน่วยที่ผ่านมา นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด



โจทย์ : สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
Key Questions:
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง
- นักเรียนจะนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตได้อย่างไรบ้าง
เครื่องมือคิด
-
 Blackboard Share ความคิดเห็นสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว กับสิ่งที่ควรปรับปรุงเกี่ยวกับหนังเครื่องร่อน
- ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน
 Quarter นี้ผ่านเครื่องมือ คิด Round Rubin
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนผ่านเครื่องมือMaid Mapping
- Show share สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครูนักเรียน

สื่อ / อุปกรณ์

- กระดาษ A3

ครูและนักเรียนร่วม AAR กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้
ร่วมกัน ตลอด 1 Quarter ที่ผ่านมา
นักเรียนแบ่งกลุ่ม สรุปประเด็นจาก AAR และนำเสนอความเข้าใจ จาก 2 ประเด็น
       **  การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
     **จากรูปแบบกระบวนการเรียน 2 หน่วยที่ผ่านมา ---นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


















































-ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : นักเรียนจะจัดและตกแต่งบรรยากาศห้องเรียนอย่างไร/นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้อย่างไร
- ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการจัดเตรียมสถานที่
- จัดบรรยากาศห้องเรียน เพื่อเตรียมเปิดห้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- เผยแพร่องค์ความรู้ ในรูปแบบของนิทรรศการ
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
 : นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้อย่างไร
- ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการเผยแพร่องค์ความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ

- นักเรียนเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านมาในสัปดาห์นี้ร่วมกัน : นักเรียนได้เรียนรู้อะไรมาบ้างในสัปดาห์นี้
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนสิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านมาตลอดทั้งสัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 19

ภาระงาน :
ร่วม AAR กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้ ร่วมกัน ตลอด 1Quarter ที่ผ่านมา
นักเรียนแบ่งกลุ่ม สรุปประเด็นจาก AAR และนำเสนอความเข้าใจ จาก 2 ประเด็น
       **  การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
     **จากรูปแบบกระบวนการเรียน 2 หน่วยที่ผ่านมา นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด
อภิปรายร่วมกันและสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน :
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงานนำเสนอความคิดเห็นต่อประเด็นในวง AAR







































ภาระงาน :
- แลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนรู้ตลอด 2 Quarter
- จัดนิทรรศการเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping

ชิ้นงาน :
- Timeline สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- นิทรรศการ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถนำเสนอความคิดเห็นมุมมองด้านข้อดีและข้อด้อยของกระบวนการเรียนรู้ที่ผ่านมาเพื่อนำไปพัฒนาต่อได้

ทักษะ :ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย








































ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและคาดการณ์แนวโน้มโลกในอนาคต)พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ:

รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย


ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ

หน่วยการเรียนรู้  แกะรอยแผนการของพระเจ้า ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
- คาดการณ์แนวโน้มโลกในอนาคต

มาตรฐาน 2.2     
-เข้าใจความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลกนำความรู้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ  และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
มาตรฐาน ว 6.1
เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ   ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ส 1.1
-วิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับวิถีการดำเนินชีวิตของศาสนาสนิกชนในศาสนาอื่นๆ
( 1.1 .3/10)
มาตรฐาน ง 3.1
-อธิบายหลักการทำโครงงานที่มีการการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
( 3.1 .3/1)
มาตรฐาน 
 พ 5.1
-วิเคราะห์สื่อต่อพฤติกรรมสุขภาพและความรุนแรง
( 5.1 .3/1)
มาตรฐาน
1.1
-มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย3 ประเภท
( 1.1 .3/4)
มาตรฐาน 
 ส 4.1
-วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผลตามวิธีการทางประวัติศาสตร์
( 4.1 .3/1)
จุดเน้นที่ 1
แสดงออกแนะนำผู้อื่นและมีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละ
 ( .3/2)
จุดเน้นที่ 4
-เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันในภูมิภาคต่างๆของโลกอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
( .3/8)
-มีส่วนร่วมและเสนอแนวทางการป้องกันปัญหาความขัดแย้ง (.3/9)

สิ่งมีชีวิต
- คน
- พืช
- สัตว์

มาตรฐาน
  1. 1   
-เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กันมีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้   สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
มาตรฐาน
ว1.2 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายทางชีวภาพการใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมมีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
( 1.2 .3 1-6)
มาตรฐาน ส 1.1
-เชื่อมั่นต่อผลของการทำความความดี ความชั่ว สามารถ วิเคราะห์ สถานการณ์ที่ต้องเผชิญและตัดสินใจเลือกการดำเนินการหรือปฏิบัติตนได้อย่างมีเหตุผลถูกต้องตามหลักธรรม จริยธรรมและกำหนดเป้าหมายบทบาทการดำเนินชีวิตเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขและอยู่ร่วมกันเป็นอย่างสมานฉันท์ ( 1.1 .4-6/16)
มาตรฐาน   1.1
เข้าใจการทำงานมีความคิดสร้างสรรค์มีทักษะกระบวนการทำงาน  ทักษะ การจัดการทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะ การแสวงหาความรู้   มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึก ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม  เพื่อการดำรงชีวิตและครอบครัว( 1.1 .3/2)
 มาตรฐาน พ4.1
-กำหนดรายการอาหารที่เหมาะสมกับวัยต่างๆโดยคำนึงความประหยัดและคุณค่าทางโภชนาการ( 4.1 .3/1)
มาตรฐาน
 ศ 1.1
-สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึกความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
( 1.1 .3 / 4)
มาตรฐาน
4.2 -อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง ของภูมิภาคต่างๆในโลกโดยสังเขป (4.2 .3/1)
จุดเน้นที่ 4
-เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมในภูมิภาคต่างๆของโลกอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน ( .3/8)
-มีส่วนร่วมและเสนอแนวทางการป้องกันปัญหาความขัดแย้ง ( .3/9)
- กลไกชีวิต

มาตรฐาน ว  1.2
-สังเกตและอธิบายลักษณะของโครโมโซมที่มีหน่วยพันธุกรรมหรือยีนในนิวเคลียส ( 1.2 .3/1)
-อธิบายความสำคัญของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ    และกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
( 1.2 .3/2)
อภิปรายโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของยีนและโครโมโซมและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
( 1.2 .3/3)
อธิบายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์  สัตว์  พืช และสิ่งแวดล้อม
( 1.2 .3/5)

มาตรฐาน ส 1.1
-เชื่อมั่นต่อผลของการทำความความดี ความชั่ว สามารถ
 -วิเคราะห์ สถานการณ์ที่ต้องเผชิญและตัดสินใจเลือกการดำเนินการหรือปฏิบัติตนได้อย่างมีเหตุผลถูกต้องตามหลักธรรม จริยธรรมและกำหนดเป้าหมายบทบาทการดำเนินชีวิตเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขและอยู่ร่วมกันเป็นอย่างสมานฉันท์ ( 1.1 .4-6/16)
มาตรฐาน   1.1  
-ใช้ทักษะในการทำงานร่วมกันอย่างมีคุณธรรม
( 1.1 .3/ 2)
มาตรฐาน ง  2.1
ร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการ    ตามกระบวนการเทคโนโลยี อย่างปลอดภัย ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพฉาย เพื่อนำไปสู่การสร้างต้นแบบและแบบจำลองของสิ่งของเครื่องใช้ หรือถ่ายทอดความคิดของวิธีการเป็นแบบจำลองความคิดและ การรายงานผล
 มาตรฐาน พ 1.1
-อธิบายกระบวนการสร้างเสริมและดำรงประสิทธิภาพการทำงาน ของระบบอวัยวะต่าง ๆ
 ( 1.1 .4-6 )

 มาตรฐาน ศ 1.1
-มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย ๓ ประเภท
มาตรฐาน
4.2 อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง ของภูมิภาคต่างๆในโลกโดยสังเขป (4.2 .3/1)
จุดเน้นที่ 1
-แสดงออกแนะนำผู้อื่นและมีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละ
 ( .3/2)
จุดเน้นที่ 4
-เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันในภูมิภาคต่างๆของโลกอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
( .3/8)
-มีส่วนร่วมและเสนอแนวทางการป้องกันปัญหาความขัดแย้ง (.3/9)

คาดการณ์แนวโน้มโลกในอนาคต
มาตรฐาน 2.2     
 -เข้าใจความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลกนำความรู้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ  และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
มาตรฐาน ว 6.1
เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ   ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ส 1.1
-วิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับวิถีการดำเนินชีวิตของศาสนาสนิกชนในศาสนาอื่นๆ
( 1.1 .3/10)
มาตรฐาน ง 3.1
-อธิบายหลักการทำโครงงานที่มีการการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
( 3.1 .3/1)
มาตรฐาน พ 5.1
-วิเคราะห์สื่อต่อพฤติกรรมสุขภาพและความรุนแรง
( 5.1 .3/1)
มาตรฐาน
1.1
-มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย 3 ประเภท
( 1.1 .3/4)
มาตรฐาน ส 4.1
-วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผลตามวิธีการทางประวัติศาสตร์
( 4.1 .3/1)
จุดเน้นที่ 1
-แสดงออกแนะนำผู้อื่นและมีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละ
 ( .3/2)
จุดเน้นที่ 4
-เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันในภูมิภาคต่างๆของโลกอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
( .3/8)
-มีส่วนร่วมและเสนอแนวทางการป้องกันปัญหาความขัดแย้ง (.3/9)

วิวัฒนาการสู่สังคมโลก
-ยุคก่อนประวัติศาสตร์
-ยุคหิน
-ยุดโลหะ
-สมัยประวัติศาสตร์
-การแบ่งช่วงเวลา
-การเมืองการปกครอง

มาตรฐาน ว  1. 1
-เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กันมีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้   สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
มาตรฐาน ว  1.2
สำรวจและอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่นที่ทำให้สิ่งมีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล
( 1.2 .3/4)
มาตรฐาน ว 2. 1
อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรในระบบนิเวศ( 2.1 .3/4)

มาตรฐาน ส 3.1 
-วิเคราะห์ปัญหาทางเศรษฐกิจ                ในชุมชนและเสนอแนวทางแก้ไข  ( 3.1 .4-6)
มาตรฐาน ส 3.2
วิเคราะห์ผลกระทบของการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจในยุคโลกาวิวัฒน์ที่มีผลต่อสังคมไทย
( 3.2 .4-6)

มาตรฐาน    4.1
อภิปรายการหางานด้วยวิธีที่หลากหลาย
มาตรฐาน ง 3.1 
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบ
( 3.1 .3/4)

 มาตรฐาน พ 5.1
วิเคราะห์สื่อต่อพฤติกรรมสุขภาพและความรุนแรง
( 5.1 .3/1)
 มาตรฐาน
1.1
มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย ๓ ประเภท( 1. 1 .3/4)
สร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ
( 1. 1 .3/6)

มาตรฐาน ส 4.1
วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผลตามวิธีการทางประวัติศาสตร์
 ( 4.1 .3 /2)
ตระหนักถึงความสำคัญของเวลาและ   ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ ( 4.1 .4-6 /2)
มาตรฐาน ส 4.2
วิเคราะห์ผลของการเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่ความร่วมมือ และความขัดแย้ง  ในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ ตลอดจนความพยายามในการขจัดปัญหาความขัดแย้ง 
( 4.2 .3 /2)
วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
( 4.2 .4-6 /2)
มาตรฐาน ส 4.3

จุดเน้นที่ 5
-ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
( .3/10)
จุดเน้นที่ 1
แสดงออกแนะนำผู้อื่นและมีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละ
 ( .3/2)
จุดเน้นที่ 4
-เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันในภูมิภาคต่างๆของโลกอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
( .3/8)
-มีส่วนร่วมและเสนอแนวทางการป้องกันปัญหาความขัดแย้ง (.3/9)
วิวัฒนาการสู่สังคมโลก
- ขนบธรรมเนียม/ประเพณี
- วัฒนธรรม
ความเชื่อ
-ศาสนา

มาตรฐาน ว  1. 1
-เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กันมีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้   สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
มาตรฐาน ว  1.2
สำรวจและอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่นที่ทำให้สิ่งมีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล
( 1.2 .3/4)
มาตรฐาน ว 2. 1
อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรในระบบนิเวศ( 2.1 .3/4)

มาตรฐาน  ส 1.1
-วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์อารยธรรม     และความสงบสุขแก่โลก   ( 1.1 .3 / 2)
วิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับวิถีการดำเนินชีวิตของศาสนิกชนในศาสนาอื่นๆ
( 1.1 .3 / 10)
มาตรฐาน ส  1.2  
ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคล  ต่าง ๆ ตามหลักศาสนา ตามที่กำหนด( 1.2 .3 / 2)


มาตรฐาน    4.1
-อภิปรายการหางานด้วยวิธีที่หลากหลาย
มาตรฐาน ง 3.1 
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบ
( 3.1 .3/4)

 มาตรฐาน พ 5.1
วิเคราะห์สื่อต่อพฤติกรรมสุขภาพและความรุนแรง
( 5.1 .3/1)
 มาตรฐาน ศ 1.1                        
มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย ๓ ประเภท( 1. 1 .3/4)
สร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง ๒ มิติ และ     ๓ มิติ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ
( 1. 1 .3/6)

มาตรฐาน ส 4.1
วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผลตามวิธีการทางประวัติศาสตร์
 ( 4.1 .3 /2)
ตระหนักถึงความสำคัญของเวลาและ   ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ ( 4.1 .4-6 /2)
มาตรฐาน ส 4.2
วิเคราะห์ผลของการเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่ความร่วมมือ และความขัดแย้ง  ในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ ตลอดจนความพยายามในการขจัดปัญหาความขัดแย้ง 
( 4.2 .3 /2)
วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
( 4.2 .4-6 /2)
มาตรฐาน ส 4.3

มาตรฐาน ส 2.1
อนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากลที่เหมาะสม   ( 2.1 .3/2)
จุดเน้นที่ 5
-ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
( .3/10)
จุดเน้นที่ 1
แสดงออกแนะนำผู้อื่นและมีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละ
 ( .3/2)
จุดเน้นที่ 4
-เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันในภูมิภาคต่างๆของโลกอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
( .3/8)
-มีส่วนร่วมและเสนอแนวทางการป้องกันปัญหาความขัดแย้ง (.3/9)